กฎหมายไทย แก้ไขกฎหมายทำแท้ง ความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในรอบ 60 ปีที่หลายฝ่ายยังมีข้อกังวล

 

กฎหมายไทย  กฎหมายไทยล่าสุด  กฎหมายไทยในปัจจุบัน กฎหมายน่ารู้ 50 ข้อ  สรุปกฎหมายไทย  กฎหมายไทย pdf  ระบบกฎหมายไทย  กฎหมายไทยมีกี่ประเภท  กฎหมายไทย คือ

กฎหมายไทยทันทีที่แอน (นามสมมุติ) รู้ตัวว่าตั้งครรภ์ได้เดือนกว่า ๆ เธอคิดถึงความเป็นไปได้ที่จะเลี้ยงดูลูกที่อยู่ในครรภ์ของเธอ และได้ข้อสรุปว่านี่เป็นการตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม “แค่อนาคตตัวเองเรายังมองไม่เห็นเลย เราไม่อยากให้ลูกออกมาเป็นเหมือนเรากฎหมายไทยในปัจจุบัน แม้กระทั่งค่าเทอมเรายังไม่รู้เลยว่าจะไปหาที่ไหน…เราอยากให้เขามีสังคมที่ดีกว่านี้ ชีวิตดีกว่านี้ ถ้าเราต้องทำงานหาเงินจนเลือดตาแทบกระเด็นจนไม่มีเวลาให้ลูก มันก็ถือเป็นความไม่พร้อมอยู่ดี” เธอเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ 2 ปีก่อน

แอนตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์หรือทำแท้งที่สถานพยาบาลแห่งหนึ่ง ซึ่งตามกฎหมายแล้วนี่ถือว่าเป็นความผิดอาญา แต่หลังจากพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาฉบับที่ 28 ที่แก้ไขมาตราว่าด้วยการทำแท้งมีผลบังคับใช้ในวันที่ 7 ก.พ. หรือหนึ่งวันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 6 ก.พ. กฎหมายไทย pdfตามที่กฎหมายกำหนด ผู้หญิงที่ทำแท้งอาจไม่ได้มีความผิดตามกฎหมายอาญาเสมอไป กม. ทำแท้งผ่านวุฒิสภา เปิดทางหญิงอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ทำแท้งได้ ผู้หญิงโปแลนด์ออกมาประท้วงหลังศาลตัดสินห้ามทำแท้งเกือบทุกกรณี ประชามติทำแท้งในไอร์แลนด์: “ไม่มีผู้หญิงคนไหนอยากทำแท้ง”

 

กฎหมายน่ารู้ 50 ข้อ 

 

ระบบกฎหมายไทย

ผู้ที่ศึกษาประวัติศาสตร์ของกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งให้ข้อมูลว่า ประมวลกฎหมายอาญามาตรามาตรา 301-305 ที่ว่าด้วยการทำแท้งนี้มีผลบังคับใช้มาแล้ว 60 ปี ดังนั้น พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาว่าด้วยการทำแท้งฉบับนี้จึงถือเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งแรกในรอบ 60 ปี กฎหมายน่ารู้ 50 ข้อและเป็นสิ่งที่ภาคประชาสังคมเรียกร้องให้เกิดขึ้นผ่านการเคลื่อนไหวต่าง ๆ มาอย่างต่อเนื่อง ก้าวไปอีกขั้น แต่ยังมีข้อกังวล สาระสำคัญของ พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญามาตรา 301 และ 305 ที่ว่าด้วยการทำแท้งฉบับนี้คือ

จากเดิมที่การทำแท้งในเกือบทุกกรณีเป็นความผิด มีโทษจำคุกและปรับ เปลี่ยนมาเป็นการทำแท้งช่วงที่อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ไม่มีความผิด หากอายุครรภ์เกิน 12 สัปดาห์สามารถทำแท้งได้ภายใต้ 3 เงื่อนไข และหากอายุครรภ์เกิน 12 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์ ทำแท้งได้ภายใต้ 1 เงื่อนไข การทำแท้งที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขนี้ผู้ทำจะมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับแต่เนื้อหาของกฎหมายที่แก้ไขเป็นไปตามความคาดหวังของผู้ที่ทำงานด้านอนามัยเจริญพันธุ์และสิทธิสตรีหรือไม่สรุปกฎหมายไทย และยังมีประเด็นอะไรที่น่ากังวล บีบีซีไทยรวบรวมความเห็นจากผู้เกี่ยวข้องรอบด้าน ทั้งนักกฎหมาย แพทย์อาสา และองค์กรภาคประชาสังคม

กฎหมายไทย pdf 

กฎหมายไทยล่าสุด

ปิด พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 28)พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 28) ที่ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ในวันที่ 6 ก.พ. และ มีผลบังคับใช้ในวันที่ 7 ก.พ. เป็นต้นไป มีทั้งหมด 4 มาตรา ดังนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ 28) พ.ศ.2564 ” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรา 301 แห่งประมวลกฎหมายอาญาระบบกฎหมายไทย ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. 2560 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 301 หญิงใดทำให้ตนเองแท้งลูกหรือยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนแท้งลูกขณะมีอายุครรภ์เกิน 12 สัปดาห์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ” มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในมาตรา 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญา และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 305 ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา 301 หรือมาตรา 302 เป็นการกระทำของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมและตามหลักเกณฑ์ของแพทยสภาในกรณีดังต่อไปนี้ ผู้กระทำไม่มีความผิด

กฎหมายไทยในปัจจุบัน

(1) จำเป็นต้องกระทำเนื่องจากหากหญิงตั้งครรภ์ต่อไปจะเสี่ยงต่อการได้รับอันตราย ต่อสุขภาพทางกายหรือจิตใจของหญิงนั้น (2) จำเป็นต้องกระทำเนื่องจากมีความเสี่ยงอย่างมากหรือมีเหตุผลทางการแพทย์ อันควรเชื่อได้ว่าหากทารกคลอดออกมาจะมีความผิดปกติถึงขนาดทุพพลภาพอย่างร้ายแรง (3) หญิงยืนยันต่อผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมว่าตนมีครรภ์เนื่องจากมีการกระทำความผิดเกี่ยวกับเพศ (4) หญิงซึ่งมีอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์ (5) หญิงซึ่งมีอายุครรภ์เกิน 12 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์ กฎหมายไทยล่าสุดยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์ ภายหลังการตรวจและรับคำปรึกษาทางเลือกจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมและผู้ประกอบวิชาชีพอื่น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของแพทยสภาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นกฎหมายไทย

ข่าวแนะนำ

 

ขอบคุณข่าวต้นทางbbc.com